หน่วยสมรรถนะ
ใช้สมุนไพรดูแลรักษาช้างเบื้องต้น
สาขาวิชาชีพการท่องเที่ยว การโรงแรม ภัตตาคารและร้านอาหาร
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | THR-NALI-814A |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | ใช้สมุนไพรดูแลรักษาช้างเบื้องต้น |
3. ทบทวนครั้งที่ | / |
4. สร้างใหม่ |
![]() |
ปรับปรุง |
![]() |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
9332 ควาญช้าง |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
หน่วยสมรรถนะนี้ประกอบไปด้วยความรู้และทักษะที่จำเป็นในการใช้สมุนไพรดูแลรักษาช้างเบื้องต้น โดยสามารถใช้สมุนไพรรักษาช้าง และส่งเสริมสุขภาพช้างได้ |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
คนเลี้ยงช้าง ควาญช้าง หมอช้าง |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
1. พรบ ป้องกันการทารุณกรรมและจัดสวัสดิภาพสัตว์ พ.ศ. 2557 |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
40102.01 ใช้สมุนไพรรักษาช้าง |
1. อธิบายวิธีการใช้สมุนไพรรักษาโรคผิวหนังของช้าง |
40102.01.01 | 149487 |
40102.01 ใช้สมุนไพรรักษาช้าง |
2. อธิบายวิธีการใช้สมุนไพรรักษาอาการบวม ฟกช้ำ |
40102.01.02 | 149488 |
40102.01 ใช้สมุนไพรรักษาช้าง |
3. อธิบายวิธีการใช้สมุนไพรห้ามเลือด |
40102.01.03 | 149489 |
40102.01 ใช้สมุนไพรรักษาช้าง |
4. อธิบายวิธีการใช้สมุนไพรรักษาโรคที่เกี่ยวกับทางเดินอาหาร |
40102.01.04 | 149490 |
40102.02 ใช้สมุนไพรส่งเสริมสุขภาพช้าง |
1. อธิบายวิธีการใช้สมุนไพรบำรุงกำลังช้าง |
40102.02.01 | 149491 |
40102.02 ใช้สมุนไพรส่งเสริมสุขภาพช้าง |
2. อธิบายวิธีการใช้สมุนไพรเพื่อกำจัดพยาธิภายนอก |
40102.02.02 | 149492 |
40102.02 ใช้สมุนไพรส่งเสริมสุขภาพช้าง |
3. อธิบายวิธีการใช้สมุนไพรดูแลเท้าช้าง |
40102.02.03 | 149493 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
N/A |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ - ทักษะในการเลือกใช้สมุนไพรรักษาช้าง (ข) ความต้องการด้านความรู้ - ความรู้เกี่ยวกับวิธีการเลือกใช้สมุนไพรรักษาช้าง |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
ขอบเขตการปฏิบัติงานในการใช้สมุนไพรดูแลรักษาช้างเบื้องต้น เริ่มตั้งแต่ ใช้สมุนไพรรักษาช้าง โดยอธิบายวิธีการใช้สมุนไพรรักษาโรคผิวหนังของช้าง เช่น เครือสะบ้า ใบน้อยหน่า วิธีการใช้สมุนไพรรักษาอาการบวม ฟกช้ำวิธีการใช้สมุนไพรห้ามเลือด และวิธีการใช้สมุนไพรรักษาโรคที่เกี่ยวกับท้อง เช่น ท้องอืด ท้องเสีย ใช้สมุนไพรส่งเสริมสุขภาพช้าง รวมทั้ง อธิบายวิธีการใช้สมุนไพรบำรุงกำลังช้าง เช่น การทำยาลูกกลอนบำรุงกำลัง การใช้ยาต้มสมุนไพรในการนวดแบบร้อนให้ช้าง วิธีการใช้สมุนไพรเพื่อกำจัดพยาธิภายนอก และวิธีการใช้สมุนไพรดูแลเท้าช้าง เช่น การแช่เท้าช้างด้วยยาต้มสมุนไพร เป็นต้น |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
18.1 สอบสัมภาษณ์ |