หน่วยสมรรถนะ
พาช้างนำเที่ยว
สาขาวิชาชีพการท่องเที่ยว การโรงแรม ภัตตาคารและร้านอาหาร
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | THR-DWUC-820A |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | พาช้างนำเที่ยว |
3. ทบทวนครั้งที่ | / |
4. สร้างใหม่ |
![]() |
ปรับปรุง |
![]() |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
9332 ควาญช้าง |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
หน่วยสมรรถนะนี้ประกอบไปด้วยความรู้และทักษะที่จำเป็นในการพาช้างนำเที่ยว โดยสามารถพานักท่องเที่ยวอาบน้ำช้าง ขี่ช้างแบบมีแหย่งและแบบไม่มีแหย่ง และป้อนอาหารช้างได้ |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
คนเลี้ยงช้าง ควาญช้าง |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
1. พรบ ป้องกันการทารุณกรรมและจัดสวัสดิภาพสัตว์ พ.ศ. 2557 |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
50105.01 พานักท่องเที่ยวอาบน้ำช้าง |
1. เลือกบริเวณที่ลงอาบน้ำได้อย่างปลอดภัย |
50105.01.01 | 149530 |
50105.01 พานักท่องเที่ยวอาบน้ำช้าง |
2. อธิบายเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้อาบน้ำช้าง |
50105.01.02 | 149531 |
50105.01 พานักท่องเที่ยวอาบน้ำช้าง |
3. อธิบายความสำคัญของการอาบน้ำช้าง |
50105.01.03 | 149532 |
50105.01 พานักท่องเที่ยวอาบน้ำช้าง |
4. ตระหนักถึงการรักษาระยะห่างกับช้างเชือกอื่น |
50105.01.04 | 149533 |
50105.01 พานักท่องเที่ยวอาบน้ำช้าง |
5. แนะนำข้อห้ามที่นักท่องเที่ยวไม่สามารถทำกิจกรรมได้ |
50105.01.05 | 149534 |
50105.02 พานักท่องเที่ยวขี่ช้างแบบมีแหย่ง |
1. ตรวจสอบอุปกรณ์แหย่งก่อนพานักท่องเที่ยวขึ้นนั่ง |
50105.02.01 | 149535 |
50105.02 พานักท่องเที่ยวขี่ช้างแบบมีแหย่ง |
2. แนะนำให้นักท่องเที่ยวใช้อุปกรณ์อย่างปลอดภัย |
50105.02.02 | 149536 |
50105.02 พานักท่องเที่ยวขี่ช้างแบบมีแหย่ง |
3. ส่งสัญญาณบอกกรณีเส้นทางขรุขระ ที่อาจเป็นอันตราย |
50105.02.03 | 149537 |
50105.03 พานักท่องเที่ยวขี่ช้างแบบไม่มีแหย่ง |
1. อธิบายการนั่งที่ถูกต้องและตำแหน่งที่เหมาะสมบนหลังช้าง |
50105.03.01 | 149538 |
50105.03 พานักท่องเที่ยวขี่ช้างแบบไม่มีแหย่ง |
2. อธิบายการขึ้นลงช้างอย่างปลอดภัย |
50105.03.02 | 149539 |
50105.03 พานักท่องเที่ยวขี่ช้างแบบไม่มีแหย่ง |
3. แนะนำความปลอดภัยให้กับนักท่องเที่ยว |
50105.03.03 | 149540 |
50105.03 พานักท่องเที่ยวขี่ช้างแบบไม่มีแหย่ง |
4. อธิบายเส้นทางเดิน และข้อควรระวังกรณีมีการขึ้นเขาหรือลงเนินที่ค่อนข้างชัน |
50105.03.04 | 149541 |
50105.04 พานักท่องเที่ยวป้อนอาหารช้าง |
1. เลือกบริเวณป้อนอาหารช้างที่เหมาะสมและปลอดภัย |
50105.04.01 | 149542 |
50105.04 พานักท่องเที่ยวป้อนอาหารช้าง |
2. เว้นระยะห่างระหว่างช้างเพื่อไม่ให้เกิดการแย่งอาหาร |
50105.04.02 | 149543 |
50105.04 พานักท่องเที่ยวป้อนอาหารช้าง |
3. อธิบายการเลือกอาหารที่เหมาะสมกับช้าง |
50105.04.03 | 149544 |
50105.04 พานักท่องเที่ยวป้อนอาหารช้าง |
4. แนะนำวิธีการให้อาหารช้างที่ถูกต้อง |
50105.04.04 | 149545 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
N/A |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ - ทักษะในการพาช้างทำกิจกรรมร่วมกับนักท่องเที่ยว (ข) ความต้องการด้านความรู้ - ความรู้เกี่ยวกับวิธีการพาช้างทำกิจกรรมร่วมกับนักท่องเที่ยว |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
ขอบเขตการปฏิบัติงานในการพาช้างนำเที่ยว เริ่มตั้งแต่ พานักท่องเที่ยวอาบน้ำช้าง โดยเลือกบริเวณที่ลงอาบน้ำได้อย่างปลอดภัย เช่น จุดที่พื้นไม่ลื่น น้ำไม่ลึก ไม่เชี่ยวกราก ไม่มีเศษแก้วหรือโลหะหรือสิ่งมีคมที่อาจเป็นอันตรายได้ อธิบายเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้อาบน้ำช้าง ความสำคัญของการอาบน้ำช้าง โดยรักษาระยะห่างกับช้างเชือกอื่น และพานักท่องเที่ยวขี่ช้างทั้งแบบมีแหย่งและแบบไม่มีแหย่ง โดยอธิบายการนั่งที่ถูกต้องและตำแหน่งที่เหมาะสมบนหลังช้าง การขึ้นลงช้างอย่างปลอดภัย การแนะนำความปลอดภัยให้กับนักท่องเที่ยว เช่น การจับเชือกคาดอกช้าง หรือการแนะนำให้กกหู หรือการนั่งช้างเป็นเพื่อน ตรวจสอบอุปกรณ์แหย่งโดยแนะนำให้นักท่องเที่ยวใช้อุปกรณ์อย่างปลอดภัย เช่น การรัดเข็มขัด หรือการใช้ที่กั้นพาดแหย่ง อธิบายเส้นทางเดิน และข้อควรระวังกรณีมีการขึ้นเขาหรือลงเนินที่ค่อนข้างชัน รวมทั้ง พานักท่องเที่ยวป้อนอาหารช้าง โดยเลือกบริเวณป้อนอาหารช้างที่เหมาะสม ปลอดภัย เช่น พื้นไม่ลื่น มีพื้นที่ให้คนเว้นระยะจากช้าง หรือมีหลักเสากั้น มีการเว้นระยะห่างระหว่างช้างเพื่อไม่ให้เกิดการแย่งอาหาร อธิบายการเลือกอาหารที่เหมาะสมกับช้าง เช่น อาหารอ่อนนิ่มให้กับช้างอายุมาก หรือเลือกปริมาณให้เหมาะสมกับช้าง เช่น การกินกล้วยสุกมากเกินไปอาจก่อให้เกิดอาการท้องเสียถ่ายเหลวได้ และแนะนำวิธีการให้อาหารช้างที่ถูกต้อง |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
18.1 สอบสัมภาษณ์ |