หน่วยสมรรถนะ
ตรวจวัด ประเมินและติดตามการสัมผัสอันตรายจากสิ่งแวดล้อมการทำงานด้านอื่นๆ
สาขาวิชาชีพอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | WPS-ZZZ-5-017ZB |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | ตรวจวัด ประเมินและติดตามการสัมผัสอันตรายจากสิ่งแวดล้อมการทำงานด้านอื่นๆ |
3. ทบทวนครั้งที่ | 1 / 2562 |
4. สร้างใหม่ |
![]() |
ปรับปรุง |
![]() |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
อาชีพนักอาชีวสุขศาสตร์ |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะต้องมีความรู้และทักษะในการตรวจวัด ประเมินและติดตามการสัมผัสอันตรายด้านอาชีวสุขศาสตร์ จากสิ่งแวดล้อมการทำงานด้านอื่นๆของผู้ปฏิบัติงาน สามารถกำหนดแผนงานและกลวิธีในการตรวจวัด ประเมินและติดตามการสัมผัสอันตรายด้านอาชีวสุขศาสตร์ สามารถตรวจวัดสิ่งแวดล้อมด้านอาชีวสุขศาสตร์ และการประเมินและติดตามการสัมผัสอันตรายด้านอาชีวสุขศาสตร์ ของผู้ปฏิบัติงาน รวมไปถึงสามารถสรุปผลการดำเนินการตรวจวัด และประเมินการสัมผัสอันตรายด้านอาชีวสุขศาสตร์ ของผู้ปฏิบัติงานในสภาพแวดล้อมการทำงาน |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
ผู้ปฏิบัติงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
1. พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2554 |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
B303.1 กำหนดแผนงานและกลวิธีในการตรวจวัด ประเมินและติดตามการสัมผัสอันตรายทางกายภาพ และเคมี | 1. ระบุกฎหมาย มาตรฐานและข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องกับการสัมผัสอันตรายจากสิ่งแวดล้อมการทำงานด้านอื่นๆได้ |
B303.1.01 | 149034 |
B303.1 กำหนดแผนงานและกลวิธีในการตรวจวัด ประเมินและติดตามการสัมผัสอันตรายทางกายภาพ และเคมี | 2. วิเคราะห์ข้อมูลจากการชี้บ่งอันตรายจากสิ่งแวดล้อมการทำงานด้านอื่นๆและประเมินความเสี่ยงเบื้องต้น เพื่อใช้กำหนดวิธีตรวจวัดที่เหมาะสมได้ |
B303.1.02 | 149035 |
B303.1 กำหนดแผนงานและกลวิธีในการตรวจวัด ประเมินและติดตามการสัมผัสอันตรายทางกายภาพ และเคมี | 3. กำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายการตรวจวัด ประเมินและติดตามการจากสิ่งแวดล้อมการทำงานด้านอื่นๆได้ |
B303.1.03 | 149036 |
B303.1 กำหนดแผนงานและกลวิธีในการตรวจวัด ประเมินและติดตามการสัมผัสอันตรายทางกายภาพ และเคมี | 4. กำหนดกลยุทธ์และกลวิธีการตรวจวัด ประเมินและติดตามการสัมผัสอันตรายจากสิ่งแวดล้อมการทำงานด้านอื่นๆได้ |
B303.1.04 | 149037 |
B303.1 กำหนดแผนงานและกลวิธีในการตรวจวัด ประเมินและติดตามการสัมผัสอันตรายทางกายภาพ และเคมี | 5. จัดทำแผนงานในการตรวจวัด การเก็บและวิเคราะห์ตัวอย่าง ประเมินและติดตามการสัมผัสอันตรายจากสิ่งแวดล้อมการทำงานด้านอื่นๆได้ |
B303.1.05 | 149038 |
B303.1 กำหนดแผนงานและกลวิธีในการตรวจวัด ประเมินและติดตามการสัมผัสอันตรายทางกายภาพ และเคมี | 6. ระบุแนวทางในการคัดเลือกผู้ดำเนินการตรวจวัดสภาพแวดล้อมในการทำงานได้ |
B303.1.06 | 149039 |
B303.1 กำหนดแผนงานและกลวิธีในการตรวจวัด ประเมินและติดตามการสัมผัสอันตรายทางกายภาพ และเคมี | 7. กำหนดทีมหรือผู้รับผิดชอบ และระยะเวลาเสร็จสิ้นในการดำเนินการของแต่ละกิจกรรมในแผนการตรวจวัด ประเมินและติดตามการสัมผัสอันตรายจากสิ่งแวดล้อมการทำงานด้านอื่นๆได้ |
B303.1.07 | 149040 |
B303.1 กำหนดแผนงานและกลวิธีในการตรวจวัด ประเมินและติดตามการสัมผัสอันตรายทางกายภาพ และเคมี | 8. นำเสนอแผนการตรวจวัด ประเมินและติดตามการสัมผัสอันตรายด้านอาชีวสุขศาสตร์ ต่อผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องหรือผู้บริหารได้ |
B303.1.08 | 149041 |
B303.2 ตรวจวัด เก็บตัวอย่างและวิเคราะห์ผลการสัมผัสอันตรายทางกายภาพ และเคมี | 1. กำหนดเทคนิคที่ใช้ในการตรวจวัดได้เหมาะสมกับบริบทของสภาพแวดล้อมการทำงานได้ |
B303.2.01 | 149042 |
B303.2 ตรวจวัด เก็บตัวอย่างและวิเคราะห์ผลการสัมผัสอันตรายทางกายภาพ และเคมี | 2. กำหนดรูปแบบ วิธีการเก็บตัวอย่างด้านอาชีวสุขศาสตร์ ได้เหมาะสมตามหลักวิชาการได้ |
B303.2.02 | 149043 |
B303.2 ตรวจวัด เก็บตัวอย่างและวิเคราะห์ผลการสัมผัสอันตรายทางกายภาพ และเคมี | 3. กำหนดพื้นที่ ช่วงเวลา ที่ใช้ในการตรวจวัดและเก็บตัวอย่างด้านอาชีวสุขศาสตร์ ได้เหมาะเหมาะสมกับบริบทของสภาพแวดล้อมการทำงานได้ |
B303.2.03 | 149044 |
B303.2 ตรวจวัด เก็บตัวอย่างและวิเคราะห์ผลการสัมผัสอันตรายทางกายภาพ และเคมี | 4. เลือกใช้เครื่องมือ อุปกรณ์การตรวจวัด เก็บตัวอย่าง และการปรับเทียบที่ถูกต้องตามหลักวิชาการได้ |
B303.2.04 | 149045 |
B303.2 ตรวจวัด เก็บตัวอย่างและวิเคราะห์ผลการสัมผัสอันตรายทางกายภาพ และเคมี | 5. ระบุหลักการวิธีในการตรวจวัดและเก็บตัวอย่างด้านอาชีวสุขศาสตร์ได้ถูกต้องตามหลักวิชาการได้ |
B303.2.05 | 149046 |
B303.2 ตรวจวัด เก็บตัวอย่างและวิเคราะห์ผลการสัมผัสอันตรายทางกายภาพ และเคมี | 6. ติดตั้ง ตรวจสอบ และดำเนินการตรวจวัดอันตรายด้านอาชีวสุขศาสตร์ทั้งแบบพื้นที่และแบบติดตัวบุคคลได้ |
B303.2.06 | 149047 |
B303.3 ประเมินและติดตามการสัมผัสอันตรายทางด้านกายภาพ และเคมี | 1. ระบุชนิดของอันตรายที่สัมผัส ช่องทางการรับสัมผัส และกลไกการตอบสนองของร่างกายได้ |
B303.3.01 | 149048 |
B303.3 ประเมินและติดตามการสัมผัสอันตรายทางด้านกายภาพ และเคมี | 2. ระบุระดับความเข้มข้นของตัวชี้วัดด้านอาชีวสุขศาสตร์ของการสัมผัสอันตรายจากสิ่งแวดล้อมการทำงานได้ |
B303.3.02 | 149049 |
B303.3 ประเมินและติดตามการสัมผัสอันตรายทางด้านกายภาพ และเคมี | 3. เปรียบเทียบผลการวิเคราะห์จากการตรวจวัดและผลการวิเคราะห์ตัวอย่างกับค่ามาตรฐานหรือกฎหมายได้ |
B303.3.03 | 149050 |
B303.3 ประเมินและติดตามการสัมผัสอันตรายทางด้านกายภาพ และเคมี | 4. วิเคราะห์และประเมินการรับสัมผัสอันตรายจากสิ่งแวดล้อมการทำงานได้ |
B303.3.04 | 149051 |
B303.3 ประเมินและติดตามการสัมผัสอันตรายทางด้านกายภาพ และเคมี | 5. วางแผนการตรวจติดตามการสัมผัสอันตรายด้านอาชีวสุขศาสตร์ โดยกำหนดความถี่ในการประเมินซ้ำได้ถูกต้องตามกฎหมายและเหมาะสมกับลักษณะความเสี่ยงได้ |
B303.3.05 | 149052 |
B303.3 ประเมินและติดตามการสัมผัสอันตรายทางด้านกายภาพ และเคมี | 6. ตรวจติดตามการสัมผัสอันตรายด้านอาชีวสุขศาสตร์ ตามความจำเป็นและกำหนดเวลาที่ได้วางแผนไว้ได้ |
B303.3.06 | 149053 |
B303.4 สรุปและรายงานผลการดำเนินการตรวจวัดการสัมผัสอันตรายทางกายภาพ และเคมี | 1. สรุปผลและจัดทำรายงานการประเมินการรับสัมผัสอันตรายด้านอาชีวสุขศาสตร์ได้ |
B303.4.01 | 149054 |
B303.4 สรุปและรายงานผลการดำเนินการตรวจวัดการสัมผัสอันตรายทางกายภาพ และเคมี | 2. ตรวจสอบความถูกต้องของรายงานการสรุปผลได้ |
B303.4.02 | 149055 |
B303.4 สรุปและรายงานผลการดำเนินการตรวจวัดการสัมผัสอันตรายทางกายภาพ และเคมี | 3. นำเสนอรายงานผลรายงานการประเมินการรับสัมผัสอันตรายด้านอาชีวสุขศาสตร์ ให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องหรือผู้บริหารทราบได้ |
B303.4.03 | 149056 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
ผู้เข้ารับการประเมินต้องมีทักษะและความรู้ในเรื่องการตรวจวัดการสัมผัสอันตรายการ เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินการสัมผัสอันตราย การเก็บตัวอย่างและการวิเคราะห์ตัวอย่างด้านกายภาพ และเคมี ได้แก่ การสัมผัสอันตรายทางกายภาพที่เกี่ยวข้องกับ ความสั่นสะเทือน ความเย็น รังสีไม่ก่อไอออน การสัมผัสอันตรายด้านเคมีทางการหายใจ การสัมผัสอันตรายด้านเคมีทางผิวหนังและทางอื่นๆ |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ 1. ทักษะเลือกและการสุ่มตัวอย่างที่เหมาะสม โดยใช้เครื่องตรวจมือวัด การวิเคราะห์ผล และการวิเคราะห์จุดอ่อนจุดแข็ง (ข) ความต้องการด้านความรู้ 1. พื้นฐานด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
(ก) คำแนะนำ |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
18.1 เครื่องมือประเมินการกำหนดแผนงานและกลวิธีในการตรวจวัด ประเมินและติดตามการสัมผัสอันตรายด้านอาชีวสุขศาสตร์ จากสิ่งแวดล้อมการทำงานด้านอื่นๆ |